Guide

พาชม Egypt ในศตวรรษที่ 19 ยุคที่เมืองแห่งฟาโรห์อันศักดิ์สิทธิ์ยังสมบูรณ์แบบ

By: unlockmen August 18, 2015

ประเทศอียิปต์ ถือเป็นอีกประเทศหนึ่งที่มีโบราณสถานที่สำคัญแห่งหนึ่งของโลก ด้วยสถาปัตยกรรมต่างๆ ที่สะท้อนถึงความรุ่งเรืองในอดีตอันยาวนานมากกว่า 4,000 ปี อีกทั้งในยุคอาณานิคม เมืองแห่งนี้ยังเป็นเมืองท่าที่สำคัญแห่งหนึ่งของโลกอีกด้วย ถือเป็นอีกประเทศที่เชื่อมต่อระหว่างประเทศทางซีกโลกตะวันออก และตะวันตก ทำให้เส้นทางการเดินเรือทั้งหลายจำเป็นที่จะต้องผ่านเมืองแห่งนี้

จากนั้นในปี 1859 ได้มี่การเริ่มขุดคลองสุเอซขึ้น อันถือเป็นคลองแห่งแรกของโลกที่ถูกขุดด้วยฝีมือมนุษย์ โดยได้แล้วเสร็จในปี 1869 ใช้เวลาทั้งสิ้น 10 ปีด้วยกัน การขุดคลองแห่งนี้ทำให้เส้นทางการเดินเรือของโลกเปลี่ยนโฉมหน้าไปเลยทีเดียว เพราะคลองสุเอซถือเป็นทางลัดที่ช่วยร่นระยะเวลาของการเดินเรือจากการอ้อมแหลมกู๊ดโฮป ทำให้บริษัทอุตสาหกรรมเรือยิ่งมีความจำเป็นจะต้องผ่านเมืองท่าแห่งนี้อย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ หลังจากคลองแห่งนี้สร้างแล้วเสร็จ ความเจริญก้าวหน้าต่างๆ ก็ยิ่งหลั่งไหลมาสู่อียิปต์ ไม่ว่าจะเป็นการสร้างโรงแรมหรูหราด้วยเทคโนโลยีใหม่ๆ หรือบริษัทธุรกิจของโลกต่างๆ โดยเฉพาะอังกฤษ ก็หันมาลงทุนในอียิปต์มากขึ้น ดังนั้นถ้าใครจะต้องการเดินทางไปประเทศฝั่งตะวันตก ก็จำเป็นจะต้องผ่านเมืองท่าแห่งนี้ รวมไปถึงขบวนการเสด็จประพาสยุโรปของล้นเกล้ารัชกาลที่ ๕ ด้วย

นี่เองเป็นเหตุผลที่ในวันนี้ UNLOCKMEN ขอเป็นตัวแทนพาชม Egypt ในศควรรษที่ 19 ยุคที่เมืองแห่งฟาโรห์อันศักดิ์ยังสมบูรณ์แบบ ตามมาดูกันเลยครับ ว่าในอดีต เมืองแห่งนี้จะคงความขลังไว้มากขนาดไหน

 

01

 

02

 

03

 

1385b

 

11181874534_b5c041e4d3_b

 

Aberdeen Square 1890

 

algerian-desert-camel-rider-late-1800s-photo-print-3

 

Court

 

Egypt in Old Photographs (12)

 

great-sphinx-1880

 

International-oil-drillers-in-Egypt

 

old-vintage-photos-of-egypt-1870-1875-3

 

old-vintage-photos-of-egypt-1870-1875-5

 

old-vintage-photos-of-egypt-1870-1875-11

 

Packing up the Obelisk in Alexandria, Egypt to send to New York, 1880 (4)

 

Port Said

 

samurai sfinks

 

Tahrir Square 1890

 

The Pyramids in 1875

 

tumblr_mo8v1smMnq1qlsf0uo3_1280

 

tumblr_nc7rfcKTdk1snqfx2o1_1280

unlockmen
WRITER: unlockmen
Share on Facebook Share on Twitter Share on Line